Customize Consent Preferences

We use cookies to help you navigate efficiently and perform certain functions. You will find detailed information about all cookies under each consent category below.

The cookies that are categorized as "Necessary" are stored on your browser as they are essential for enabling the basic functionalities of the site. ... 

Always Active

Necessary cookies are required to enable the basic features of this site, such as providing secure log-in or adjusting your consent preferences. These cookies do not store any personally identifiable data.

Functional cookies help perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collecting feedback, and other third-party features.

Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics such as the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.

Performance cookies are used to understand and analyze the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.

Advertisement cookies are used to provide visitors with customized advertisements based on the pages you visited previously and to analyze the effectiveness of the ad campaigns.

Skip to content Skip to footer

รู้จัก Copayment ประกันสุขภาพ

เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2568 ทีผ่านมา ผู้ที่ทำใหม่กับบริษัทประกันชีวิตต้องเข้าหลักเกณฑ์ ทุกกรมธรรม์ ส่วนกรมธรรม์เดิมที่มีอยู่แล้วก็ยังคงได้รับความคุ้มครองตามเงื่อนไขเดิม 

อย่างไรก็ตาม การที่ผู้ทำประกันจะเข้าหลักเกณฑ์แบบร่วมจ่าย หรือ ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายนักหากมีการรักษาตามความจำเป็นที่เกิดขึ้นของโรค ซึ่งก็ให้ความคุ้มครองที่ครอบคลุมครบถ้วนตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในกรมธรรม์อยู่แล้ว

โดยกรณีที่จะต้องเข้าหลักเกณฑ์ มี 3 กรณี ดังนี้
  • กรณีที่ 1 เมื่อมีการเคลมสำหรับโรคที่ไม่รุนแรง (simple Diseases)  หรืออาการที่ไม่จำเป็นต้องนอนโรงพยาบาล โดยมีจำนวนการเคลมมากกว่าหรือเท่ากับ 3 ครั้งต่อปีกรมธรรม์ และมีอัตรามากกว่าหรือเท่ากับ 200% ของเบี้ยประกันสุขภาพ ผู้ทำประกันจะต้องมีส่วนร่วมจ่ายค่ารักษาพยาบาลร่วมกับริษัทประกันในอัตรา 30% ทุกค่ารักษาในปีถัดไปเมื่อมีการต่ออายุกรมธรรม์
  • กรณีที่ 2 การเคลมสำหรับโรคทั่วไปแต่ไม่นับรวม การผ่าตัดใหญ่ และโรคร้ายแรง โดยมีจำนวนการเคลมมากว่าหรือเท่ากับ 3 ครั้งต่อปีกรมธรรม์  และมีอัตราการเคลมมากว่าหรือเท่ากับ 400% ของเบี้ยประกันสุขภาพ ผู้ทำประกันจะต้องจ่าย ค่ารักษาร่วมกับบริษัทประกันในอัตรา 30% ของทุกค่ารักษาในปีถัดไปที่มีการต่อกรมธรรม์
  • กรณีที่ 3 หากผู้ทำประกันเข้าเงื่อนไขทั้งในกรณีที่ 1 และกรณีที่ 2  ผู้ทำประกันจะต้องมีส่วนร่วมจ่ายค่ารักษาในอัตรา 50% ทุกค่ารักษาในปีถัดไปด้วย

โดยในกรณีที่ 1 หรือกรณีที่ 2 นั้น ในปีนี้หากเข้าหลักเกณฑ์ Copayment แล้ว แม้ผู้ทำประกันจะมีการเคลมประกันเกิดขึ้นในปีนี้ ก็ยังไม่ต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาลร่วมกับบริษัทประกัน จนกระทั่งผู้ทำประกันทำการต่ออายุกรมธรรม์ในปีถัดไป หากมีการเคลมประกันเกิดขึ้น ผู้ทำประกันจะต้องมีส่วนร่วมจ่ายกับบริษัทประกันตามเงื่อนไขของ Copayment ตามกรณีที่ 1, กรณีที่ 2 หรือกรณีที่ 3 ขึ้นอยู่กับผู้ทำประกันจะเข้าหลักเกณฑ์ของกรณีใด

อย่างไรก็ตาม หากในปีถัดไปผู้ทำประกันไม่ได้มีการเคลมประกันภัยแม้จะมีเกณฑ์ copayment แล้วก็ตาม เมื่อมีการต่ออายุกรมธรรม์ในปีต่อจากนั้น ผู้ทำประกันก็สามารถกลับมามีสถานะเป็นผู้ถือกรมธรรม์ที่ไม่เข้าหลักเกณฑ์ Copayment ได้ โดย Copayment จะไม่ต้องโดนจ่ายร่วมในปีที่เข้าหลักเกณฑ์ แต่จะต้องจ่ายร่วมในปีต่ออายุเท่านั้น

สำหรับผู้สนใจสามารถเลือกซื้อประกันชีวิต ประกันสุขภาพ  ประกันวินาศภัย หรือศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ในงานมหกรรมการเงินกรุงเทพ ครั้งที่ 25 MONEY EXPO 2025 BANGKOK ภายใต้แนวคิด “Resilient Wealth” ที่วารสารการเงินธนาคาร จัดขึ้นในวันที่ 15-18 พฤษภาคม 2568 ชาเลนเจอร์ 2-3 อิมแพ็ค เมืองทองธานี  โดยเปิด 7 โซนบริการด้านการเงินการลงทุนครบวงจร พร้อมขนทัพแคมเปญโปรโมชั่นสุดพิเศษจากธนาคาร/สถาบันการเงิน/บล.บลจ./ บริษัทประกัน/หน่วยงานภาครัฐและเอกชนคับคั่ง พร้อมกิจกรรมสัมมนาจากกูรูชื่อดังแถวหน้าของเมืองไทย  และกิจกรรมความบันเทิงมากมาย